การใช้ฟังก์ชัน IF กับ INT คำนวณเงินทอนหรือแลกเงินด้วยจำนวนธนบัตรและเหรียญเท่าที่จำเป็น
เรื่องใกล้ตัวที่บางครั้งก็ลืม อย่างการทอนเงินลูกค้า ซึ่งปัญหาที่แคชเชียร์มักเจอกันบ่อยๆ คือ ทอนเงินเกิน,ทอนผิด เพราะวันๆ ก็จับแต่เงินคนอื่น แต่พอหายขึ้นมากลับกลายเป็นเงินของเราเองซะงั้น
จากตัวอย่างรูป Figure A เป็นการ
หาเงินทอนแยกแบงค์แยกเหรียญ ด้วยโจทย์ดังนี้
- ยอดรับเงิน 2,000 (เซลล์ C2)
- หักค่าสินค้า 1,067.50 (เซลล์ D2)
- เหลือเงินที่ต้องทอนให้ลูกค้า 932.75 (เซลล์ E2)
Figure A |
ฟังก์ชันที่ใช้กับตารางนี้มี 2 ฟังก์ชัน
- ฟังก์ชัน IF กำหนดเงื่อนไข
- ฟังก์ชัน INT ปัดเศษทศนิยมออก ไวยากรณ์ INT คือ INT(number)
Row | Column | ||||
---|---|---|---|---|---|
B
|
C
|
D
|
E
|
F
| |
1 |
รับเงิน
|
ค่าสินค้า
|
เงินทอน
|
||
2 |
2,000.00
|
1,067.25
|
932.75
|
- ส่วนต่างๆ ของตารางแสดงสูตร โดยตำแหน่งคอลัมท์และแถวที่ใช้ (กำหนดจาก FigureA)
- หน่วยเงิน (column C)แยกประเภทของเหรียญและธนบัตร เช่น เหรียญ 25 สตางค์, เหรียญ 5 บาท, ธนบัตรใบละ 50 บาท, ธนบัตรใบละ 100 บาท เป็นต้น
- สูตรในคอลัมท์เงินทอน แสดงการใช้ฟังก์ชัน ของ column E
- เงินทอน/บาท(column E) แสดงผลลัพท์ที่คำนวณได้
B | C | E | F | ||
3 | หน่วยเงิน | สูตรในคอลัมท์เงินทอน | เงินทอน/ บาท |
จำนวน | |
4 | สต. | 0.25 | =IF($E$2-$E5>$C4,INT(($E$2-SUM($E5:$E$14))/C4)*$C4,0) | 0.25 | 1 |
5 | สต. | 0.50 | =IF($E$2-$E6>$C5,INT(($E$2-SUM($E6:$E$14))/C5)*$C5,0) | 0.50 | 1 |
6 | บาท | 1 | =IF($E$2-$E7>$C6,INT(($E$2-SUM($E7:$E$13))/C6)*$C6,0) | 0 | |
7 | บาท | 2 | =IF($E$2-$E8>$C7,INT(($E$2-SUM($E7:$E$14))/C7*$C7,0) | 2 | 1 |
8 | บาท | 5 | =IF($E$2-$E9>$C8,INT(($E$2-SUM($E9:$E$14))/C8)*$C8,0) | 0 | |
9 | บาท | 10 | =IF($E$2-$E10>$C9,INT(($E$2-SUM($E10:$E$14))/C9)*$C9,0) | 10 | 1 |
10 | บาท | 20 | =IF($E$2-$E11>$C10,INT(($E$2-SUM($E11:$E$14))/C10)*$C10,0) | 20 | 1 |
11 | บาท | 50 | 0 | ||
12 | บาท | 100 | =IF($E$2-$E13>$C12,INT(($E$2-SUM($E13:$E$14))/C12)*$C12,0) | 400 | 4 |
13 | บาท | 500 | =IF($E$2-$E14>$C13,INT(($E$2-SUM($E14:$E$14))/C13)*$C13,0) | 500 | 1 |
14 | บาท | 1000 | =IF($E$2>$C14,INT($E$2/$C14)*$C14,0) | 0 | |
15 | รวมเงินทอน | 932.75 | 10 |
column F เป็นผลคำนวณหาจำนวนเหรียญ/ธนบัตร ที่ต้องทอนให้กับลูกค้า ในขณะที่ column E เป็นการคำนวณหาเงินทอนตามมูลค่าของเหรียญ/ธนบัตร ความแตกต่างของสองคอลัมท์นี้ มีเพียงแค่ตัวคูณของหน่วยเงินเท่านั้น คือ ตัวคูณมูลค่าของเหรียญหรือ ธนบัตร (ในที่นี้คือ คอลัมท์ C)
หมายเหตุ
- ในเซลล์ E4 : =IF(E2-E5>C4,INT((E2-SUM(E5:E14))/C4)*C4,0)
- ในเซลล์ F4 : =IF(E2-E5>C4,INT((E2-SUM(E5:E14))/C4),0)
- ในคอลัมท์ C ที่เป็นค่าของเหรียญหรือธนบัตร หากใช้ custom format cells เราสามารถใส่หน่วย "สต." หรือ "บาท" ได้พร้อมทั้งแทนค่าในสูตรด้วยได้เลย โดยไม่ต้องแยกหน่วยที่คอลัมท์ B
- ตารางที่แสดงด้านล่างได้เพิ่มหน่วยเงิน 2 บาทเข้าไป
:) ทำแ้ล้วไม่ได้อ่ะครับ แล้วก็ ถ้ามีเหรียญ 2 บาทด้วยล่ะครับ เซลส์ 12 หายไปไหน เซลส์ 9 ซ้ำกันครับ
ตอบลบหลักของสูตรนี้คือยึดค่าเงินที่มากที่สุดก่อนคือ 1000 แล้วคำนวณย้อนขึ้นจำนวนน้อย
ลบให้ลองก็อปปี้สูตรแล้ววางในเอกเซลชีทที่ต้องการทดสอบโดยวางให้ตรงกับคอลัมท์ที่ระบุไว้ คือ หน่วยเงิน ให้วางที่คอลัมท์ C และสูตรให้วางที่คอลัมท์ E โดยที่ให้ใส่มูลค่าเงินที่ต้องการทอนไว้ที่ E2 และที่เซลล์ E15กับ F15 ให้sum ผลรวมทดสอบด้วยค่ะ
ตอนแรกที่คุณboukhum ทำไม่ได้คาดว่าเกิดจากหน่วยเงินในคอลัมท์ C ที่ใส่ไว้ ถ้าเอาหน่วยออกสูตรน่ารันได้เลย
และขอบคุณมากที่แจ้งเรื่องข้อมูลซ้ำตอนนี้ได้แก้ไขแล้ว